Wikipedia

ผลการค้นหา

adgroup

วันพุธที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2561

ร่วมงานกิจกรรม CEO ลิเวอร์พูล มาเมืองไทย

ได้อะไรมาบ้าง 
เราได้ไปร่วมงาน ความเป็นลิเวอร์พูล ดีใจมาก
แต่ระหว่างร่วมงานความรู้สึกประทับใจมันแปลกแยก
ได้ของรางวัลนิดหน่อยเป็นพวงกุญแจเดอะค็อป สาวกชอบใจกันในงานแจงของรางวัล
มีความสุขขึ้นในขณะที่เดินทางไปถึงที่หมาย แต่ก็เริ่มตึงเครียดกับการรอพบ ใคร CEO คนใหม่ลิเวอร์พูล
แล้วมันเกี่ยวกับ สโมสรและความสำเร็จของสโมสรที่ตั้งเป้าหมายไว้ ที่แชมป์ลีกในรอบหลายปี มาก
การมาของ เขาดูแล้ว สมกับเป็น เดอะค็อป ประเพณีสโมสรที่เป็นคนพื้นฐานเดิมของเมืองลิเวอร์พูล
แต่จะว่าไปแล้ว เราก็ไม่รู้จัก ใครกัน ปีเตอร์ มัวร์
มั่นใจในการไปร่วมครั้งนี้ว่า อนาคตลิเวอร์พูล แฟนทีมจะได้ต้อนรับนักเตะอีกครั้ง พร้อมกับถ้วยแชมป์ 
และก็ความสุขที่รอคอยของเหล่าสาวกเดอะค็อป ที่ต้องมากกว่าเดิม 
สำนวนการเขียนของเรากับการกล่าวถึงบุคคลที่ยิ่งใหญ่ของสโมสรลิเวอร์พูล ช่างไม่เหมาะสมเท่าไหร่ และการมาของ CEO อย่างที่ไม่เป็นทางการนัก ปีเตอร์ มัวร์ เขากล่าวอะไรก็ไม่ได้สนใจนัก แต่ประวัติของเขาค่อนข้างจะโดดเด่นและเป็น แฟนลิเวอร์พูลคนหนึ่ง และดูเหมือนจะมีราคาคุยในอดีตไว้พอสมควร คนข้างๆอีกบุคคลหนึ่ง คือผู้บริหารของ SuperSport 

ปณิธานของเรากับ นักสู้ในสนามบอล กำลังไปถึงเป้าหมายแล้ว เห็นสภาพเบื้องหลังของสโมสรบ้างแล้ว 
เบื้องหน้าของนักเตะลิเวอร์พูลและสต๊าฟโค้ชช่างวิเศษถ้าได้ถ้วยแชมป์ พร้อมกับการมาเมืองไทยอีกครั้งหนึ่ง 
<ในภาพ ลิเวอร์พูล vs แมนฯซิตี้ สกอร์0-0 >

วันเสาร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2561

รางวัลโนเบล ประจำปี 2018 ล่าสุด สาขา เศรษฐศาสตร์

Economic Sciences
   เป็นการให้เกียรติเผยชื่อผู้ได้รับรางวัล โนเบล เศรษฐศาสตร์   👏👏👏👏👏👏

The Nobel Prize in Economic Sciences was shared by Americans William D. Nordhaus and Paul M. Romer, for research on innovation, climate change and the economy that has had huge implications...
รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ปีนี้เป็นของนักเศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกันทั้ง 2 คน อันได้แก่ ดร.พอล เอ็ม. โรเมอร์ (Paul M. Romer) กับ ดร.วิลเลี่ยม ดี. โนร์ดเฮาส์ (William D. Nordhoues) ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐอเมริกา และวิทยาลัยธุรกิจสเติร์น แห่งมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ตามลำดับ (Stern School of Business, NYU, New York, USA)
 ผลงานที่ทำให้นักเศรษฐศาสตร์อเมริกันทั้ง 2 ท่านได้รับรางวัลโนเบลก็คือ การต่อยอดทฤษฎีการจำเริญทางเศรษฐกิจ หรือ Economic Growth Theory ของ ดร.โรเบิร์ต โซโลว์ แห่งสถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาชูเซตส์
ข้อความโดย ดร.วีรพงษ์ รามางกูร

 

วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2561

ซูโดกุ#ประเทศไทย ซูโดกุ#180

#180 ซูโดกุ

ไปหอสมุดแห่งชาติ ค้นพบ

คอลัมน์ประเทศไทย วงจรอุบาทว์การเมือง
คอลัมน์ นสพ.ไทยรัฐเมื่อปี 2534 เดือน เม.ย. ภายหลังการเลือกตั้ง จากวันนั้นถึงวันนี้